ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2012

ตัวอย่างการการหนด อำนาจกรรมการของบริษัทจํากัด

ตัวอยางการการหนดอำนาจกรรมการของบริษัทจํากัด 1. มาตราฐานทั่วไปคือ...  “ กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญบริษัท ” ข้อดีคือ... ใครเป็นกรรมการสามารถเซ็นต์เอกสารกันได้เลย ข้อเสีย คือ ถ้ากรรมการคนไหนไปเซ็นต์เอกสารที่มีผลทางเสีย  บริษัทก็เสียหายได้ง่าย 2. ใช้กรรมการหลายคน " กรรมการ สองคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัท " ข้อดีคือ  ใครเป็นกรรมการเซ็นต์เอกสารได้เลย และ สามารถให้อีกบุคคลให้ความคิดเห็นและยอมรับกันเซ็นต์เอกสารกันได้ ข้อเสียคือ  ต้องใช้สองคน บางทีอาจไม่เหมาะถ้ากรรมการไม่ว่าง หรือ ไป ตจว. 3. ใช้วิธีระบุชื่อ   " นาย ก.ลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัท " ข้อดีคือ จำกัดการลงนาม ใช้ในกรณีป้องกันการตัดสินใจได้ดี ข้อเสียคือ  ถ้านาย ก.ไม่ว่าง ก็ต้องรอ เขาคนเดียว และข้อเสียอีกอย่างคือ เวลานาย ก. ลาออกจากกรรมการแล้ว ต้องมีการเปลี่ยน อำนาจกรรมการเป็นอย่างอื่น เสียเพิ่ม 400 บาท 4. ระบุจำนวน กรรมการ เช่น   " กรรมการ 2 ใน 3 ลงลายมือชืื่อและประทับตราสำคัญของบริษัท " ข้อดี ต้องมีการร่วมตัดสินใจทุกครั้ง ข้อเสีย คือ ต้องใช้กร